คำ ปฏิญาณ และ กฎ ของ ลูกเสือ

March 22, 2022

สถิติผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ ผู้เยี่ยมชมทั้งหมด 1440740 ผู้เยี่ยมชมวันนี้ 0000236 การดูหน้าเว็บ 0000245 คนออนไลน์ 0000002 ผู้ดูแลระบบ เข้าสู่ระบบ ลืมรหัสผ่าน สมัครสมาชิก ที่อยู่ติดต่อราชการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรสาคร 2/3 หมู่ 8 ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 034-429184-6 FAX: 034-429187

กฎของลูกเสือสามัญ กฎของลูกเสือสามัญ10ข้อ คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ

หน้าที่ต่อศาสนา ลูกเสือจะนับถือศาสนาใด ๆ ก็ได้ เพราะทุกศาสนาก็มีความมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือให้ให้บุคคลเป็นคนดี ได้แก่ การละเว้นความชั่ว กระทำแต่ความดี และทำใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์ ค. หน้าที่ต่อประมหากษัตริย์ ผู้กำกับลูกเสือพึงหาวิธีการต่าง ๆ ที่จะทำให้ลูกเสือสนใจในพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์โดยเน้นถึงเวลาที่พระองค์ทรงอุทิศให้แก่บ้านเมือง และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆทั่วราชอาณาจักรพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชาติ เป็นที่รวมแห่งความเคารพสักการะและความสามัคคีของคนไทยทั้งชาติ นอกจากนั้น พระองค์ทรงเป็นพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติด้วย ง. การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นเป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของลูกเสือและเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้การลูกเสือมีชื่อเสียง ได้รับการยกย่องจากประชาชนโดยทั่วไปแหล่งหรือโอกาสที่ลูกเสือจะบำเพ็ญประโยชน์นั้นควรเริ่มจากสิ่งที่ใกล้ตัวเด็กก่อนแล้วขยายออกไปตามวัยและความสามารถของเด็ก กล่าวคือ ๑. บ้านของลูกเสือ ควรส่งเสริมให้เด็กทำงานในบ้านหรือบำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว เพื่อเป็นการเพาะนิสัยที่ดีให้แก่เด็ก ๒.

งานนำเสนอเรื่อง: "คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ: 1 คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ วันชัย สามสุวรรณ L. T. C. 2 วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. อธิบายความหมายของคำปฎิญาณและกฎของลูกเสือได้ ๒. ท่องคำปฎิญาณและกฎของลูกเสือสามัญได้ ๓. แปลความหมายคำปฎิญาณและกฎของลูกเสือสามัญได้ ๔. บรรยายถึงกิจกรรมภาคปฎิบัติที่จะช่วยให้ลูกเสือเข้าใจ ความหมายของคำปฎิญาณและกฎของลูกเสือได้ ๕.

www stou ac th ผล สอบ

Sriwittayapaknam School – โรงเรียนศรีวิทยาปากน้ำ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ www.swps.ac.th

2470 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้มีการชุมนุมลูกเสือแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรกในบริเวณพระราชอุทยานสราญรมย์ และจัดให้อบรมลูกเสือหลายรุ่น กระทั่งรุ่นสุดท้ายในปี พ. 2475 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้น กิจการลูกเสือจึงได้รับการปรับปรุงใหม่ โดยรัฐบาลได้จัดตั้งหน่วยยุวชนทหาร และรับเด็กที่เคยเป็นลูกเสือมาแล้วมาฝึกวิชาทหาร ส่วนกิจการลูกเสือก็ขยายให้กว้างขวางขึ้น โดยมีการจัดตั้งกองลูกเสือเหล่าเสนาและลูกเสือเหล่าสมุทรเสนาขึ้น เพื่อฝึกร่วมกับยุวชนทหาร ทำให้กิจการลูกเสือซบเซาลงบ้างในยุคนี้ ในปี พ.

ลูกเสือต้องมีใจจงรักภักดี (Loyal) 3. ลูกเสือต้องเป็นมิตรกับบุคคลทั่วไป (Friendly) 4. ลูกเสือต้องมีสัมมาคารวะ (Courteous) 5. ลูกเสือต้องบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น (Helpful) 9 ดวงดาวทางขวา หมายถึงคุณธรรมข้อที่ 6 – 10 ซึ่งว่าด้วยกฎข้อบังคับโดยตรง คือ 6. ลูกเสือต้องมีใจเมตตากรุณาเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (Kind) 7. ลูกเสือต้องเชื่อฟังคำสั่งสอน (Obedient) 8. ลูกเสือต้องมีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสเบิกบาน แม้ในยามลำบาก หรือเผชิญอันตราย (Cheerful) 9. ลูกเสือต้องมัธยัสถ์ (Thrifty) 10. ลูกเสือต้องมีกาย วาจา ใจสะอาดบริสุทธิ์ (Clean)

ลูกเสือเป็นผู้มัธยัสถ์ ในฐานะท่านเป็นลูกเสือ ท่านจะมองไปข้างหน้าและจะไม่ยอมเสียเวลาหรือเสียเงินสำหรับความสุขสำราญในปัจจุบัน แต่จะใช้โอกาสนั้น เพื่อให้ได้บรรลุความสำเร็จในหน้าที่ที่ท่านกระทำทั้งนี้เพื่อว่าจะได้ไม่ต้องเป็นภาระแก่ผู้อื่น แต่กลับจะเป็นการช่วยเหลือผู้อื่นได้อีกด้วย ข้อ ๑๐. ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ในฐานะที่ท่านเป็นลูกเสือ ท่านต้องมีใจสะอาด คิดแต่เรื่องที่เป็นมงคล สามารถควบคุมสติและจิตใจของตนเองไม่ให้ฟุ้งซ่านใน รูป-รส-กลิ่น-เสียง-สัมผัส และของมันเมาจนเกินกว่าเหตุ ท่านต้องเป็นตัวของท่านเอง และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ในทุกสิ่งทุกอย่างที่ท่านคิด-พูด และกระทำโดยเฉพาะท่านควรมีสัมมาอาชีวะ คือ ต้องมีอาชีพที่สุจริตเพื่อความสุขของตนเองและสังคม

ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้ ลูกเสือที่แท้จริงถือว่าเกียรติของเขาสำคัญกว่าสิ่งใด เกียรติของเขาเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คนที่รู้จักรักษาเกียรติเป็นผู้เชื่อถือได้เสมอ เขาจะไม่กระทำสิ่งใด ๆ ที่เสียเกียรติ เช่น พูดเท็จกับผู้บังคับบัญชา หรือนายจ้าง หรือผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา และเขาจะทำตัวให้เป็นที่นับถือของคนทั่วไป ในฐานะที่เป็นลูกเสือท่านต้องไม่ยอมให้สิ่งที่ยั่วยวนใจ ไม่ว่าจะลึกลับหรือรุนแรงเพียงไรมาชักจูงให้ท่านกระทำการใด ๆ ที่ไม่สุจริต หรือเป็นที่น่าสงสัย ท่านจะไม่ละเมิดคำมั่นสัญญาเป็นอันขาด ข้อ ๒.

บวก-เลข-2-หลก-กบ-1-หลก